บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มีนาคม, 2017

ใบงานที่ 10 รูปแบบของคำสั่ง html

คำสั่งในภาษา  HTML       คำสั่งพื้นฐาน < !-- ข้อความ --> คำสั่ง หมายเหตุ ใช้อธิบายความหมาย ขื่อผู้เขียนโปรแกรม และอื่นๆ <br> คำสั่งขึ้นบรรทัดใหม่ <p> ข้อความ </p> คำสั่งย่อหน้าใหม่ <hr width="50%" size = "3"> คำสั่ง ตีเส้น, กำหนดขนาดเส้น &nbsp; คำสั่ง เพิ่มช่องว่าง <IMG SRC = "PHOTO.GIF"> คำสั่งแสดงรูปภาพชื่อ Photo.gif <CENTER> ข้อความ </CENTER> คำสั่งจัดให้ข้อความอยู่กึ่งกลาง <HTML> </HTML> คำสั่ง <HTML> คือคำสั่งเริ่มต้นในการเขียนโปรแกรม HTML และมีคำสั่ง </HTML> เพื่อบอกจุดสิ้นสุดโปรแกรม <HEAD> </HEAD> คำสั่ง <HEAD> คือคำสั่งบอกส่วนที่เป็นชื่อเรื่อง โดยมีคำสั่งย่อย <TITLE> อยู่ภายใน <TITLE> </TITLE> คำสั่ง <TITLE> คือคำสั่งบอกชื่อเรื่อง จะไปปรากฏที่ Title Bar <BODY> </BODY> คำสั่ง <BODY> คือคำสั่งบอกส่วนเนื้อเรื่อง ที่จะถูกแสดงผลในเวปบราวเซอร์ ประกอบด้วยรูปภาพ ตัวอักษร ตาราง เป็นต้น     ร

ใบงานที่ 9 ความหมาย ของ HTML

รูปภาพ
HTML คือ ภาษาหลักที่ใช้ในการเขียนเว็บเพจ โดยใช้ Tag ในการกำหนดการแสดงผล HTML ย่อมาจากคำว่า Hypertext Markup Language โดย Hypertext หมายถึง ข้อความที่เชื่อมต่อกันผ่านลิ้ง (Hyperlink) Markup language หมายถึงภาษาที่ใช้ Tag ในการกำหนดการแสดงผลสิ่งต่างๆที่แสดงอยู่บนเว็บเพจ ดังนั้น HTML จึงหมายถึง ภาษาที่ใช้ Tag ในการกำหนดการแสดงผลเว็บเพจที่ต่างก็เชื่อมถึงกันใน Hyperspace ผ่าน Hyperlink

ใบงานที่7 การเขียนผังงาน(Flowchart)

รูปภาพ
ความหมายของผังงาน ผังงาน (Flowchart) คือ รูปภาพ (Image) หรือสัญลักษณ์(Symbol) ที่ใช้เขียนแทนขั้นตอน คำอธิบาย ข้อความ หรือคำพูด ที่ใช้ในอัลกอริทึม (Algorithm) เพราะการนำเสนอขั้นตอนของงานให้เข้าใจตรงกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ด้วยคำพูด หรือข้อความทำได้ยากกว่าการใช้ผังงาน ผังงานเป็นเครื่องมือแสดงขั้นตอนหรือกระบวนการทำงานโดยใช้สัญลักษณ์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกันซึ่งในสัญลักษณ์จะมีข้อความสั้น ๆ อธิบายข้อมูลที่ต้องใช้ผลลัพธ์หรือคำสั่งประมวลผลของขั้นตอนนั้น ๆ และเชื่อมโยงขั้นตอนเหล่านั้นด้วยเส้นที่มีลูกศรชี้ทิศทางการทำงานตั้งแต่เริ่มต้นจนจบกระบวนการ ในการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปจะมีหลักการหรือขั้นตอนที่สาคัญทั้งหมด 5 ขั้นตอนได้แก่ 1. การวิเคราะห์ปัญหา 2. การออกแบบโปรแกรม 3. การเขียนโปรแกรม 4. การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม 5.ทำเอกสารประกอบโปรแกรม ดังนั้นก่อนที่จะลงมือเขียนโปรแกรมในขั้นตอนที่ 3 หลังจากทาการวิเคราะห์ปัญหาแล้ว จะต้องมีการออกแบบโปรแกรมเพื่อเป็นการวางแผนการทางานก่อน ผังงาน Flowchart เป็นเครื่องมือหนึ่งที่ใช้อธิบายลาดับขั้นตอนการทางานในรูปแบบแผนภาพ โดยใช

ใบงานที่6 การเขียนรหัสจำลอง(Pseudo Code)

รูปภาพ
การเขียนรหัสจำลอง (Pseudo Code) คือการเขียนอัลกอริทึมโดยใช้ประโยคภาษาอังกฤษที่สื่อความหมายง่ายๆ สามารถอ่านแล้วเข้าใจได้โดยทันที แต่ก็สามารถใช้รูปแบบที่เป็นภาษาพูดด้วยภาษาไทยและภาษาอังกฤษก็ได้ โครงสร้างของรหัสจำลองเริ่มต้นด้วยข้อความ Begin แล้วอธิบายขั้นตอนการทำงานโดยใช้คำสั่งต่าง ๆ ที่ใกล้เคียงกับภาษาคอมพิวเตอร์ในการเขียนโปรแกรม เช่น คำสั่ง read หมายถึง การอ่านค่าหรือรับค่าข้อมูลตัวแปรตามที่กำหนดไว้ คำสั่ง print หมายถึง การแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวณ และพิมพ์ข้อความ End เมื่อจบการทำงาน การเขียนรหัสจำลองจะต้องมีการวางแผนสำหรับการอ้างอิงถึงข้อมูลที่จะต้องนำไปใช้ภายในโปรแกรมด้วยการสร้างตัวแปร โดยใช้เครื่องหมายเท่ากับ (= ) แทนการกำหนดค่าตัวแปร                            

ใบงานที่ 5 อัลกอริทึม

รูปภาพ
1.อัลกอริทึม (Algorithm) หมายถึง   กระบวนการแก้ปัญหาที่สามารถอธิบายออกมาเป็นขั้นตอนที่ชัดเจน เมื่อนำเข้าอะไร แล้วจะต้องได้ผลลัพธ์เช่นไร กระบวนการนี้ประกอบด้วยจะประกอบด้วย วิธีการเป็นขั้นๆ และมีส่วนที่ต้องทำแบบวนซำอีก จนกระทั่งเสร็จสิ้นการทำงาน 2.ลักษณะของอัลกอริทึม   แนวทางการเขียนอลักอริทึมเป็นลักษณะการทำงานขั้นพื้นฐาน มักปรากฏในระบบงาน โปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยทั่วไป มีแนวทางที่ใช้บ่อย ๆ ดังนี้ -การทำงานลักษณะการนับค่าสะสมในหน่วยความจา -การทำงานลักษณะวนรอบการทำงาน -การทำงานลกัษณะหาค่ามากที่สุดและค่าน้อยที่สุด

ใบงานที่ 4 เรื่อง การดำเนินการแก้ไขปัญหา การตรวจสอบและปรับปรุง

รูปภาพ
1. การตรวจสอบและปรับปรุงโดยผู้ออกแบบ 2. การตรวจสอบโดยผู้ใช้งานจริง                                        

ใบงานที่ 3 การเลือกเครื่องมือและการออกแบบขั้นตอน

รูปภาพ
1.การเลือกเครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหา :การกำหนดทรัพยากรที่ต้องใช้ในการแก้ปัญหา                                   2.การออกแบบขั้นตอนในการปฏิบัติงาน :เป็นการกำหนดแนวทางการแก้ปัญหาก่อนปฏิบัติจริง โดยจะต้องกำหนดขั้นตอนการปฏิบัติงานเป็นลำดับขั้น แล้วจึงนำมาระบุผู้รับผิดชอบและระยะเวลาในการปฏิบัติงานในตารางปฏิบัติงาน                                  

ใบงานที่ 2 การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา

รูปภาพ
1) การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา ในการที่จะแก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่งได้นั้น สิ่งแรกที่ต้องทำคือทำความเข้าใจเกี่ยวกับถ้อยคำต่างๆ ในปัญหา แล้วแยกปัญหาให้ออกว่าอะไรเป็นสิ่งที่ต้องหา แล้วมีอะไรเป็นข้อมูลที่กำหนด และมีเงื่อนไขใดบ้าง หลังจากนั้นจึงพิจารณาว่าข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดให้นั้นเพียงพอที่จะหาคำตอบของปัญหาได้หรือไม่ ถ้าไม่เพียงพอ ให้หาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อที่จะสามารถแก้ไขปัญหาได้ ดังนี้ 1.1 การระบุข้อมูลเข้า ได้แก่ การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดมากับปัญหา 1.2 การระบุข้อมูลออก ได้แก่ การพิจารณาเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องหาคำตอบหรือผลลัพธ์ 1.3 การกำหนดวิธีประมวลผล ได้แก่ การพิจารณาวิธีหาคำตอบ หรือผลลัพธ์ 2) การวางแผนในการแก้ปัญหา จากการทำความเข้าใจกับปัญหาจะช่วยให้เกิดการคาดคะเนว่าจะใช้วิธีการใดในการแก้ปัญหาเพื่อให้ได้มาซึ่งคำตอบ ประสบการณ์เดิมของผู้แก้ปัญหาจะมีส่วนช่วยอย่างมาก ฉะนั้นในการเริ่มต้นจึงควรจะเริ่มด้วยการถามตนเองว่า “เคยแก้ปัญหาในทำนองเดียวกันนี้มาก่อนหรือไม่” ในกรณีที่มีประสบการณ์มาก่อนควรจะใช้ประสบการณ์เป็นแนวทางในการแก้ปัญหา สิ่งที่จะช่วยให้เราเ

My Profile

รูปภาพ
My Profile ชื่อ : นายธนโชติ เสนารถ ชื่อเล่น : โอม อายุ : 16ปี  เกิดวันที่ : 23 มิถุนายน 2543 โรงเรียน : โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง วิชาที่ชอบ : จีน อังกฤษ Conversation คอม ดนตรี อาชีพที่อยากเป็น : เชฟทำขนม เจ้าของธุระกิจ ล่าม  ที่อยู่ : 119/47 ม.5 ต.สำนักท้อน อ.บ้านฉาง จ.ระยอง 21130 เบอร์โทร : 064-0628944 Facebook : Tanachot Senart Instagram : Ohm_remember Line : 064-0628944 

กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ(Technological Process)

รูปภาพ
  คือ  ขั้นตอนการแก้ปัญหาหรือตอบสนองต่อความต้องการซึ่งจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากทรัพยากรให้เป็นผลผลิตหรือผลลัพธ์ระบบเทคโนโลยีประกอบด้วยกระบวนการเทคโนโลยีก่อให้เกิดประโยชน์ใช้สอย ตามที่มนุษย์ต้องการและเปลี่ยนแปลงการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำกิจกรรมต่างๆของมนุษย์ เพราะมนุษย์มีความต้องการในการสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆในการดำรงชีวิต ซึ่งจะนำไปสู่ปัญหาที่อาจเกิดจากการประดิษฐ์คิดค้นต่างๆที่มนุษย์สร้างขึ้น และบางครั้งปัญหาอาจเกิดการผลิตสิ่งของต่างๆไม่ตรงตามความต้องการไม่ได้คุณภาพจึงต้องมีการออกแบบ เพื่อจะนำมาแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นดังกล่าว. ความสำคัญของกระบวนการทางเทคโนโลยี. 1. เป็นพื้นฐานปัจจัยจำเป็นในการดำเนินชีวิตของมนุษย์.  2. เป็นปัจจัยหลักที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนา. 3. เป็นเรื่องราวของมนุษย์ และธรรมชาติ.  กระบวนการเทคโลยีสารสนเทศมี7ขั้นตอน 1.การรวบรวมข้อมูล วิธีการดำเนินการ เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล และบันทึกข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งเพื่อการประมวลผล เช่น บันทึกในแฟ้ม เอกสาร บันทึกไว้ในคอมพิวเตอร์ จดบันทึกไว้ในสมุด เป็นต้น 2.การตรวจสอบข้อมูล ขั้นต